Read Anywhere and on Any Device!

Subscribe to Read | $0.00

Join today and start reading your favorite books for Free!

Read Anywhere and on Any Device!

  • Download on iOS
  • Download on Android
  • Download on iOS

เขียนชนบทให้เป็นชาติ กำเนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น

เขียนชนบทให้เป็นชาติ กำเนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
3.9/5 ( ratings)
หนังสือเล่มนี้เป็นงานศึกษาเกี่ยวกับกำเนิดและลักษณะของวิชามานุษยวิทยาไทย
และสาขาวิชาไทยศึกษา ในยุคแรกเริ่มช่วงทศวรรษ 1950 และ 1970 ซึ่งเป็น 2 ทศวรรษแรกของสงครามเย็น คำถามสำคัญของหนังสือเล่มนี้คือ หมู่บ้านชนบทไทยกลายเป็นหน่วยของการวิเคราะห์และหน่วยของการพัฒนาในสายตาของรัฐและนักมานุษยวิทยาไทยได้เมื่อไรและอย่างไร ?
เพื่อที่จะตอบคำถามดังกล่าว ผู้เขียนจึงจัดวางกรอบในการวิเคราะห์ให้อยู่ในชุดความรู้ที่เรียกว่า “สังคมวิทยาความรู้” หรือ Sociology of Knowledge ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับเงื่อนไขเชิงโครงสร้างและบริบทของความเปลี่ยนแปลงทางสังคม รวมถึงความสัมพันธ์ทางอำนาจในช่วงเวลาหนึ่งๆ ที่กำหนดกระบวนการสร้างความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ

เป้าหมายของหนังสือเล่มนี้ไม่ใช่การปฏิเสธ
หรือต้องการผลักไสมรดกทั้งหมดของอาณานิคม
หรือจักรวรรดินิยมอเมริกัน
แต่มุ่งไปที่การวิพากษ์และเปิดเผยให้เห็นลักษณะของความรู้
ทางมนุษยวิทยาของไทยยุคบุกเบิกที่ไม่อาจแยกขาดจากสงครามเย็น
ทั้งในฐานะบริบททางประวัติศาสตร์
และในฐานะโลกทัศน์ทางสังคมการเมือง...
Language
Thai
Pages
184
Format
Paperback
Publisher
มติชน
Release
March 01, 2019
ISBN 13
9789740216544

เขียนชนบทให้เป็นชาติ กำเนิดมานุษยวิทยาไทยในยุคสงครามเย็น

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
3.9/5 ( ratings)
หนังสือเล่มนี้เป็นงานศึกษาเกี่ยวกับกำเนิดและลักษณะของวิชามานุษยวิทยาไทย
และสาขาวิชาไทยศึกษา ในยุคแรกเริ่มช่วงทศวรรษ 1950 และ 1970 ซึ่งเป็น 2 ทศวรรษแรกของสงครามเย็น คำถามสำคัญของหนังสือเล่มนี้คือ หมู่บ้านชนบทไทยกลายเป็นหน่วยของการวิเคราะห์และหน่วยของการพัฒนาในสายตาของรัฐและนักมานุษยวิทยาไทยได้เมื่อไรและอย่างไร ?
เพื่อที่จะตอบคำถามดังกล่าว ผู้เขียนจึงจัดวางกรอบในการวิเคราะห์ให้อยู่ในชุดความรู้ที่เรียกว่า “สังคมวิทยาความรู้” หรือ Sociology of Knowledge ที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับเงื่อนไขเชิงโครงสร้างและบริบทของความเปลี่ยนแปลงทางสังคม รวมถึงความสัมพันธ์ทางอำนาจในช่วงเวลาหนึ่งๆ ที่กำหนดกระบวนการสร้างความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ

เป้าหมายของหนังสือเล่มนี้ไม่ใช่การปฏิเสธ
หรือต้องการผลักไสมรดกทั้งหมดของอาณานิคม
หรือจักรวรรดินิยมอเมริกัน
แต่มุ่งไปที่การวิพากษ์และเปิดเผยให้เห็นลักษณะของความรู้
ทางมนุษยวิทยาของไทยยุคบุกเบิกที่ไม่อาจแยกขาดจากสงครามเย็น
ทั้งในฐานะบริบททางประวัติศาสตร์
และในฐานะโลกทัศน์ทางสังคมการเมือง...
Language
Thai
Pages
184
Format
Paperback
Publisher
มติชน
Release
March 01, 2019
ISBN 13
9789740216544

More books from เก่งกิจ กิติเรียงลาภ

Rate this book!

Write a review?

loader